DNK Orchid Online
March 29, 2024, 04:12:32 am
Welcome, Guest. Please login or register.

Login with username, password and session length
News: DNK Orchid Online

ติดต่อผมทุกกรณี ที่ E-Mail : iamdankydank@gmail.com  

หรือ
   


มือถือ : 0962254496(แด๊ง)

 
Danky Dank

Create Your Badge
 
  Home   Forum   Help Search Arcade Links Staff List Login Register  

ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย ด้วยการใช้ จุลิ&

+-+-
+-User
Pages: [1]
  Reply  |  Print  
Author Topic: ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย ด้วยการใช้ จุลิ&  (Read 4 times)
0 Members and 1 Guest are viewing this topic.
siritidaphon
Hero Member
*****
Posts: 3173


View Profile
« on: June 09, 2018, 06:15:21 am »
Reply with quoteQuote

กรณีที่โรงงานใดใช้จุลินทรีย์บำบัดน้ำเสียเป็นประจำหรือใช้บ่อย ขอแนะนำวิธีประหยัดซึ่งจะทำให้โรงงานประหยัดงบประมาณในการลงทุนบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์บำบัดได้อย่างมหาศาลยิ่งเป็นโรงงานขนาดใหญ่จะประหยัดได้ปีละหลายล้านบาท วิธีดังกล่าวที่จะแนะนำคือเราจะสอนให้โรงงานผลิตจุลินทรีย์ขึ้นมาใช้เองได้ที่โรงงานเลย โดยเราจะเป็นผู้สอนและให้คำแนะนำปรึกษาฟรีๆ โดยมีเงื่อนไขคือซื้อหัวเชื้อในการผลิตจากเราอย่างต่อเนื่องและเงื่อนไขอื่นๆ ซึ่งจะทำให้โรงงานของท่านประหยัดและมีระบบบำบัดน้ำเสียที่ใช้จุลินทรีย์บำบัดอย่างเต็มรูปแบบ

ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสียด้วยการใช้จุลินทรีย์ชีวภาพ( อีเอ็ม )
ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ต่างๆซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้เกิดน้ำเน่าเสีย ทั้งนี้ จุลินทรีย์แต่ละชนิดสามารถย่อยสลายสารอินทรีย์ได้ต่างกัน เช่น โปรตีน ไขมัน เป็นต้น อย่างไรก็ดี องค์ประกอบสำคัญที่จุลินทรีย์ต้องการใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์คือก๊าซ Oxygen (O2) โดยกระบวนการบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์จะได้ O2 จากอากาศ 3 ทาง ได้แก่

4.1 Thermosiphon หรือการเคลื่อนลงสู่ที่ต่ำของน้ำที่มีอุณหภูมิต่ำกว่า ซึ่งจะนำ O2 ลงสู่ที่ต่ำด้วย

4.2 Photosynthesis หรือการสังเคราะห์แสงของพืชและจุลินทรีย์พืชสีเขียวเพื่อผลิตอาหารโดยจะมีการปล่อย O2 ออกมา

4.3 Thermoosmosis หรือการดูด O2 ของรากพืช (rhizosphere) อันเป็นผลจากระดับของความกดอากาศที่แตกต่างกันระหว่างภายในรากพืชกับภายนอก ทำให้ O2 ถูกดูดเข้าไปในพืช

5. การบำบัดน้ำเสียด้วยจุลินทรีย์และแสงแดดในบ่อ (Lagoon Treatment) แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนตามลำดับของการส่งน้ำ ได้แก่ จากบ่อพักให้ตกตะกอน (Sedimentation Pond) บ่อบำบัด (Oxidation Pond) และสิ้นสุดที่บ่อพักสุดท้าย (Polishing Pond) โดยมีบ่อพักให้ตกตะกอนจำนวน 1 บ่อ บ่อบำบัดจำนวน 3 บ่อ และบ่อพักสุดท้ายจำนวน 1 บ่อ ก่อนที่น้ำที่ได้รับการบำบัดแล้วจะถูกปล่อยกลับสู่ธรรมชาติ โดยจากการทดลองพบว่า การพักน้ำในบ่อจะใช้เวลาทั้งหมด 7 วัน เพราะหากนานกว่านั้นจะทำให้เกิดภาวะเน่าซ้ำซาก (nutrification) ของน้ำจากการย่อยสลายสารอินทรีย์ของจุลินทรีย์

6. น้ำที่ได้รับการบำบัดจะอยู่ในระดับที่สามารถเลี้ยงปลาในบ่อบำบัดที่สองและสามและบ่อพักสุดท้ายได้ ซึ่งการเลี้ยงปลาจะเป็นประโยชน์ช่วยในการกินแพลงตอนในน้ำ โดยในขณะนี้ได้ทดลองเลี้ยงปลาหมอเทศ ปลาตะเพียนขาว ปลายี่สกเทศ และปลานิล ในสัดส่วนปลา 3 ตัวต่อ 1 ตารางเมตร และเมื่อนำปลามาตรวจสอบ ไม่พบสารอันตรายและสามารถบริโภคได้





ขั้นตอนการบำบัดน้ำเสีย ด้วยการใช้ จุลินทรีย์ชีวภาพ  ดูเพิ่มเติมได้ที่ https://www.bcithailand.net/จุลินทรีย์ชีวภาพ/
Report Spam   Logged

Share on Facebook Share on Twitter


Pages: [1]
  Reply  |  Print  
 
Jump to:  

+-Recent Topics
Powered by EzPortal
Bookmark this site! | Upgrade This Forum
SMF For Free - Create your own Forum


Powered by SMF | SMF © 2016, Simple Machines
Privacy Policy